งานวิจัย

หน้าแรก | คลังความรู้

แนวคิดความเป็นผู้แทนทางการเมืองและการปรับใช้ในการเมืองไทย




เรื่อง แนวคิดความเป็นผู้แทนทางการเมืองและการปรับใช้ในการเมืองไทย
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วนัส ปิยะกุลชัยเดช, อาจารย์เอกวีร์ มีสุข
เสนอ สถาบันพระปกเกล้า
31 สิงหาคม 2565

           มโนทัศน์ความเป็นผู้แทนทางการเมืองเป็นหนึ่งในมโมทัศน์ที่มีความซับซ้อนในสาขาวิชาปรัชญาและทฤษฎีการเมือง มโนทัศน์ดังกล่าวหนึ่งมโนทัศน์แต่กลับมีหลายแนวคิด อย่างไรก็ตามความคิดเรื่องความเป็นผู้แทนทางการเมืองส่งผลกระทบอย่างยิ่งยวดต่อระบบการเมืองโดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบการเมืองในระบอบประชาธิปไตย กระบวนการในการสร้างผู้แทนทางการเมืองเป็นจุดเริ่มต้นที่พลเมืองในเขตเลือกตั้งสร้างหรือแต่งตั้งผู้แทนทางการเมือง และเชื่อมโยงตัวพลเมืองจากพื้นที่ส่วนตัวเข้าสู่พื้นที่สาธารณะทางการเมือง

แนวคิดความเป็นผู้แทนทางการเมืองและการปรับใช้ในการเมืองไทย (27 ครั้ง) ดาวน์โหลด

Share :

กลับไปหน้าหลัก

รายการที่เกี่ยวข้อง

ผลการสารวจความคิดเห็นของประชาชน เรื่อง “ความนิยมในพรรคการเมืองและนายกรัฐมนตรี: 1 ปีหลังการเลือกตั้ง 14 พฤษภาฯ 2566”

ดาวน์โหลด 92 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

การเคลื่อนไหวทางการเมืองของสมาพันธ์ครูเชียงใหม่...(โดยทุนสนับสนุนจากสถาบัน)

ดาวน์โหลด 24 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

รายงานการวิจัยเรื่องคดีที่เกี่ยวข้องกับคำวินิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉัยข้อพิพาท

ดาวน์โหลด 35 ครั้ง ดูเพิ่มเติม

สถาบันพระปกเกล้า